
เกี่ยวกับคอร์สนี้ |
---|
เนื้อหาคอร์สทั้งหมด 34 ชั่วโมง 9 นาที |
155 วิดีโอ |
เรียนคอร์สนี้ได้ 365 วัน |
เกี่ยวกับผู้สอน

Thai Cadet
คู่มือเตรียมสอบคณิตคิดเร็ว ม.ต้น ชุดที่ 2 (บทที่ 11 ถึง 19) l ทดลองเรียนฟรี
คอร์สเรียนออนไลน์ คู่มือเตรียมสอบคณิตคิดเร็ว ม.ต้น (ม.1-2-3) ฉบับพิชิตข้อสอบและศึกษาต่อสถาบันต่างๆ เขียนโดย อ.ธวัชชัย บุญเลิศ สอนโดย เรืออากาศเอกอิศระ เชิดชู เตรียมทหาร 37 นายเรืออากาศ 44 (สาขาวิศวกรรมอากาศยานและการบิน)
โดย ร.อ.อิศระฯ THAI CADET
คอร์สเรียนออนไลน์เพื่อสอบเตรียมทหาร วิชาคณิตศาสตร์ โดยสอนผ่านหนังสือ “คณิตคิดเร็ว ม.ต้น (ม.1-2-3) ฉบับพิชิตข้อสอบและศึกษาต่อ” เขียนโดย อ.ธวัชชัย บุญเลิศ โดยได้รับอนุญาตจากสำนักพิมพ์ธรรมบัณฑิต
สอนโดย เรืออากาศเอกอิศระ เชิดชู นักเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 37
นักเรียนนายเรืออากาศ รุ่นที่ 44 (สาขาวิศวกรรมอากาศยานและการบิน)
สอนเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ระดับ ม.ต้น (ม.1-3) เริ่มตั้งแต่พื้นฐาน จากง่ายไปหายาก เพื่อให้ผู้เรียนมีพื้นฐานที่ดีและแม่นยำ พร้อมทั้งเทคนิคมากมายในการแก้โจทย์ปัญหา และการอธิบายรายละเอียดอื่นๆ แบบละเอียดสุดๆ ตามสไตล์ของ THAI CADET เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจและนำไปใช้ได้จริงในการทำข้อสอบ
ชุดที่ 2 : บทที่ 11-19
คำแนะนำ :
- เหมาะสำหรับเด็ก ม.ต้นทุกคน เพราะสอนเนื้อหาพื้นฐาน และสอนวิธีแก้ปัญหาโจทย์ ซึ่งสามารถนำไปใช้ได้จริงในชั้นเรียน (เรียนเพิ่มเกรด/เรียนล่วงหน้า)
- เหมาะสำหรับเป็นคัมภีร์ในการอ่านเพื่อเตรียมสอบเตรียมทหารทุกเหล่า รวมทั้งเตรียมสอบช่างฝีมือทหาร และสอบเรียนต่อชั้น ม.4
- เด็กที่พื้นฐานเลข ม.ต้น ไม่ดีแนะนำว่าต้องเรียน เพราะเราสอนกันตั้งแต่พื้นฐาน หรือเด็กที่พื้นฐานเลข ม.ต้น ดีอยู่แล้วก็ยิ่งต้องเรียน เพราะมีจุดสำคัญ เทคนิควิธีการคิดที่จำเป็นต้องรู้เพื่อใช้ในการลงสนามสอบ
คอร์สเรียนออนไลน์เพื่อสอบเตรียมทหารดีอย่างไร
- เรียนได้ทุกวัน ทุกเวลา และทุกสถานที่ ตลอด 24 ชั่วโมง (ไม่ต้องรอเรียนพิเศษแค่วันเสาร์/อาทิตย์ หรือช่วงปิดเทอม)
- คอร์สเรียนวิชาพื้นฐานสามารถเรียนได้ 1 ปี และดูทบทวนได้ไม่จำกัดจำนวนครั้ง
- เน้นการสอนเนื้อหาพื้นฐาน และสอนการทำโจทย์ข้อสอบ
- ผู้สอนมีประสบการณ์ในการสอนกวดวิชาเข้าโรงเรียนเตรียมทหารมากกว่า 10 ปี เป็นโค้ชเตรียมสอบของที่ 1 ทบ. พ.ศ. 2558
- ระบบใช้งานง่าย เรียนได้ทั้งคอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟน และแท็บเล็ต
- จัดส่งหนังสือคู่มือเตรียมสอบคณิตคิดเร็ว ม.ต้น ให้ผู้เรียนถึงบ้าน
หมายเหตุ : ภายหลังจากชำระค่าเรียนแล้ว กรุณาติดต่อผ่านช่องทางด้านล่าง เพื่อรับหนังสือคู่มือเตรียมสอบคณิตคิดเร็ว ม.ต้น ประกอบการเรียนในคอร์สนี้
หากมีปัญหาการใช้งานกรุณาติดต่อผ่านช่องทางด้านล่างได้ตลอด 24 ชั่วโมง
---
ผลงานวิชาการที่ 1 เหล่าทหารบก พ.ศ. 2558
TEL./LINE : 095-942-9193
บทที่ 11 พหุนามและการแยกตัวประกอบของพหุนาม |
เวลา(นาที) |
|
---|---|---|
บทที่ 11 พหุนามและการแยกตัวประกอบของพหุนาม (เกริ่นนำ) FREE | 3:04 | |
บทที่ 11 พหุนามและการแยกตัวประกอบของพหุนาม (เอกนาม) FREE | 11:54 | |
บทที่ 11 พหุนามและการแยกตัวประกอบของพหุนาม (พหุนาม) FREE | 21:06 | |
บทที่ 11 พหุนามและการแยกตัวประกอบของพหุนาม (การหาเศษของพหุนามโดยวิธีทฤษฎีเศษเหลือ) | 17:50 | |
บทที่ 11 พหุนามและการแยกตัวประกอบของพหุนาม (สูตรที่ควรทราบเกี่ยวกับการแยกตัวประกอบฯ) | 13:04 | |
บทที่ 11 พหุนามและการแยกตัวประกอบของพหุนาม (ตัวอย่างโจทย์) | 18:51 | |
บทที่ 11 พหุนามและการแยกตัวประกอบของพหุนาม (การแยกตัวประกอบของพหุนาม) | 13:16 | |
บทที่ 11 พหุนามและการแยกตัวประกอบของพหุนาม (ตัวอย่างโจทย์) | 13:11 | |
บทที่ 11 พหุนามและการแยกตัวประกอบของพหุนาม (เศษส่วนของพหุนาม) | 16:43 | |
บทที่ 11 พหุนามและการแยกตัวประกอบของพหุนาม (การคูณและการหารเศษส่วนของพหุนาม) | 10:11 | |
บทที่ 11 พหุนามและการแยกตัวประกอบของพหุนาม (โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับรถไฟ) | 14:15 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 11 พหุนามและการแยกตัวประกอบของพหุนาม (ข้อ 1-6) | 13:35 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 11 พหุนามและการแยกตัวประกอบของพหุนาม (ข้อ 7-10) | 20:18 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 11 พหุนามและการแยกตัวประกอบของพหุนาม (ข้อ 11-16) | 16:38 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 11 พหุนามและการแยกตัวประกอบของพหุนาม (ข้อ 17-20) | 13:55 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 11 พหุนามและการแยกตัวประกอบของพหุนาม (ข้อ 21-26) | 14:20 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 11 พหุนามและการแยกตัวประกอบของพหุนาม (ข้อ 27-30) | 12:44 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 11 พหุนามและการแยกตัวประกอบของพหุนาม (ข้อ 31-36) | 17:14 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 11 พหุนามและการแยกตัวประกอบของพหุนาม (ข้อ 37-42) | 11:58 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 11 พหุนามและการแยกตัวประกอบของพหุนาม (ข้อ 43-49) | 11:28 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 11 พหุนามและการแยกตัวประกอบของพหุนาม (ข้อ 50-57) | 20:49 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 11 พหุนามและการแยกตัวประกอบของพหุนาม (ข้อ 58-62) | 14:24 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 11 พหุนามและการแยกตัวประกอบของพหุนาม (ข้อ 63-67) | 15:24 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 11 พหุนามและการแยกตัวประกอบของพหุนาม (ข้อ 68-72) | 17:52 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 11 พหุนามและการแยกตัวประกอบของพหุนาม (ข้อ 73-77) | 10:59 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 11 พหุนามและการแยกตัวประกอบของพหุนาม (ข้อ 78-81) | 16:00 | |
บทที่ 12 เลขยกกำลัง |
เวลา(นาที) |
|
บทที่ 12 เลขยกกำลัง (เกริ่นนำ) | 1:37 | |
บทที่ 12 เลขยกกำลัง (นิยาม/สมบัติของเลขยกกำลัง) | 13:03 | |
บทที่ 12 เลขยกกำลัง (สมบัติของเลขยกกำลัง (ต่อ)) | 13:00 | |
บทที่ 12 เลขยกกำลัง (ตัวอย่างโจทย์) | 10:31 | |
บทที่ 12 เลขยกกำลัง (ตัวอย่างโจทย์) | 8:14 | |
บทที่ 12 เลขยกกำลัง (ตัวอย่างโจทย์) | 16:40 | |
บทที่ 12 เลขยกกำลัง (ตัวอย่างโจทย์) | 14:34 | |
บทที่ 12 เลขยกกำลัง (รูปแบบสัญกรณ์วิทยาศาสตร์) | 15:12 | |
บทที่ 12 เลขยกกำลัง (ตัวอย่างโจทย์) | 8:04 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 12 เลขยกกำลัง (ข้อ 1-8) | 15:54 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 12 เลขยกกำลัง (ข้อ 9-13) | 16:20 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 12 เลขยกกำลัง (ข้อ 14-18) | 12:53 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 12 เลขยกกำลัง (ข้อ 19-24) | 12:43 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 12 เลขยกกำลัง (ข้อ 25-30) | 17:55 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 12 เลขยกกำลัง (ข้อ 31-34) | 8:27 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 12 เลขยกกำลัง (ข้อ 35-40) | 13:18 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 12 เลขยกกำลัง (ข้อ 41-45) | 10:49 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 12 เลขยกกำลัง (ข้อ 46-50) | 12:10 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 12 เลขยกกำลัง (ข้อ 51-55) | 14:18 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 12 เลขยกกำลัง (ข้อ 56-60) | 11:20 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 12 เลขยกกำลัง (ข้อ 61-65) | 8:49 | |
บทที่ 13 วงกลม เส้นขนาน และเรขาคณิต |
เวลา(นาที) |
|
บทที่ 13 วงกลม เส้นขนาน และเรขาคณิต (เกริ่นนำ) | 1:49 | |
บทที่ 13 วงกลม เส้นขนาน และเรขาคณิต (ส่วนประกอบของวงกลม/ทฤษฎีเกี่ยวกับวงกลม) | 16:25 | |
บทที่ 13 วงกลม เส้นขนาน และเรขาคณิต (เรื่องที่ควรรู้เพิ่มเติม/ตัวอย่างโจทย์) | 15:00 | |
บทที่ 13 วงกลม เส้นขนาน และเรขาคณิต (รูปหลายเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่า) | 9:12 | |
บทที่ 13 วงกลม เส้นขนาน และเรขาคณิต (สมบัติของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยม) | 9:34 | |
บทที่ 13 วงกลม เส้นขนาน และเรขาคณิต (เส้นขนาน) | 10:45 | |
บทที่ 13 วงกลม เส้นขนาน และเรขาคณิต (ตัวอย่างโจทย์ เส้นขนาน) | 7:27 | |
บทที่ 13 วงกลม เส้นขนาน และเรขาคณิต (ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม) | 12:53 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 13 วงกลม เส้นขนาน และเรขาคณิต (ข้อ 1-8) | 17:09 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 13 วงกลม เส้นขนาน และเรขาคณิต (ข้อ 9-15) | 11:29 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 13 วงกลม เส้นขนาน และเรขาคณิต (ข้อ 16-20) | 15:20 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 13 วงกลม เส้นขนาน และเรขาคณิต (ข้อ 21-25) | 18:25 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 13 วงกลม เส้นขนาน และเรขาคณิต (ข้อ 26-32) | 16:37 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 13 วงกลม เส้นขนาน และเรขาคณิต (ข้อ 33-38) | 11:04 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 13 วงกลม เส้นขนาน และเรขาคณิต (ข้อ 39-44) | 14:05 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 13 วงกลม เส้นขนาน และเรขาคณิต (ข้อ 45-50) | 12:24 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 13 วงกลม เส้นขนาน และเรขาคณิต (ข้อ 51-56) | 9:26 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 13 วงกลม เส้นขนาน และเรขาคณิต (ข้อ 57-62) | 12:25 | |
บทที่ 14 พาราโบรา |
เวลา(นาที) |
|
บทที่ 14 พาราโบรา (เกริ่นนำ) | 1:23 | |
บทที่ 14 พาราโบรา (นิยามสมการพาราโบรา) | 6:42 | |
บทที่ 14 พาราโบรา (รูปแบบของสมการพาราโบรา) | 10:54 | |
บทที่ 14 พาราโบรา (รูปแบบของสมการพาราโบรา) | 14:53 | |
บทที่ 14 พาราโบรา (รูปแบบของสมการพาราโบรา) | 10:13 | |
บทที่ 14 พาราโบรา (รูปแบบของสมการพาราโบรา) | 22:25 | |
บทที่ 14 พาราโบรา (สอนแปลงรูปแบบสมการพาราโบรา) | 12:23 | |
บทที่ 14 พาราโบรา (ตัวอย่างโจทย์) | 18:01 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 14 พาราโบรา (ข้อ 1-6) | 16:37 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 14 พาราโบรา (ข้อ 7-10) | 14:20 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 14 พาราโบรา (ข้อ 11-15) | 16:44 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 14 พาราโบรา (ข้อ 16-20) | 12:33 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 14 พาราโบรา (ข้อ 21-26) | 13:31 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 14 พาราโบรา (ข้อ 27-31) | 6:49 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 14 พาราโบรา (ข้อ 32-35) | 18:36 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 14 พาราโบรา (ข้อ 36-39) | 14:58 | |
บทที่ 15 อัตราส่วนตรีโกณมิติ |
เวลา(นาที) |
|
บทที่ 15 อัตราส่วนตรีโกณมิติ (เกริ่นนำ) | 1:32 | |
บทที่ 15 อัตราส่วนตรีโกณมิติ (รูปแบบ/ความสัมพันธ์/เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณฯ) | 17:05 | |
บทที่ 15 อัตราส่วนตรีโกณมิติ (ตัวอย่างโจทย์) | 17:56 | |
บทที่ 15 อัตราส่วนตรีโกณมิติ (ค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติที่ควรทราบ) | 24:44 | |
บทที่ 15 อัตราส่วนตรีโกณมิติ (ตัวอย่างโจทย์) | 9:26 | |
บทที่ 15 อัตราส่วนตรีโกณมิติ (การนำไปใช้) | 17:41 | |
บทที่ 15 อัตราส่วนตรีโกณมิติ (ตัวอย่างโจทย์) | 21:47 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 15 อัตราส่วนตรีโกณมิติ (เกริ่นนำ) | 6:08 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 15 อัตราส่วนตรีโกณมิติ (ข้อ 1-8) | 14:10 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 15 อัตราส่วนตรีโกณมิติ (ข้อ 9-12) | 22:11 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 15 อัตราส่วนตรีโกณมิติ (ข้อ 13-16) | 14:38 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 15 อัตราส่วนตรีโกณมิติ (ข้อ 17-19) | 17:03 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 15 อัตราส่วนตรีโกณมิติ (ข้อ 20-26) | 10:11 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 15 อัตราส่วนตรีโกณมิติ (ข้อ 27-30) | 9:30 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 15 อัตราส่วนตรีโกณมิติ (ข้อ 31-36) | 13:49 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 15 อัตราส่วนตรีโกณมิติ (ข้อ 37-42) | 13:07 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 15 อัตราส่วนตรีโกณมิติ (ข้อ 43-47) | 16:33 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 15 อัตราส่วนตรีโกณมิติ (ข้อ 48-52) | 14:20 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 15 อัตราส่วนตรีโกณมิติ (ข้อ 53-55) | 11:13 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 15 อัตราส่วนตรีโกณมิติ (ข้อ 56-58) | 16:36 | |
บทที่ 16 สถิติ |
เวลา(นาที) |
|
บทที่ 16 สถิติ (เกริ่นนำ) | 3:45 | |
บทที่ 16 สถิติ (นิยามสถิติ/ข้อมูล/พิสัย/ตารางแจกแจงความถี่) | 21:21 | |
บทที่ 16 สถิติ (การหาค่ากลางของข้อมูล) | 13:15 | |
บทที่ 16 สถิติ (ตัวอย่างโจทย์) | 12:44 | |
บทที่ 16 สถิติ (กรณีข้อมูลที่ได้มีการแจกแจงตารางความถี่/ค่าเฉลี่ยเลขคณิตรวม) | 18:39 | |
บทที่ 16 สถิติ (มัธยฐาน/ฐานนิยม) | 8:22 | |
บทที่ 16 สถิติ (ตัวอย่างโจทย์) | 16:29 | |
บทที่ 16 สถิติ (การวัดการกระจายของข้อมูล/เส้นโค้งปกติ) | 14:47 | |
บทที่ 16 สถิติ (คุณสมบัติเส้นโค้งปกติ) | 20:19 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 16 สถิติ (ข้อ 1-5) | 8:58 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 16 สถิติ (ข้อ 6-12) | 11:33 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 16 สถิติ (ข้อ 13-17) | 13:24 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 16 สถิติ (ข้อ 18-24) | 10:28 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 16 สถิติ (ข้อ 25-28) | 16:20 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 16 สถิติ (ข้อ 29-33) | 14:14 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 16 สถิติ (ข้อ 34-38) | 10:46 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 16 สถิติ (ข้อ 39-45) | 11:06 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 16 สถิติ (ข้อ 46-54) | 13:40 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 16 สถิติ (ข้อ 55-58) | 11:27 | |
บทที่ 17 ความน่าจะเป็น |
เวลา(นาที) |
|
บทที่ 17 ความน่าจะเป็น (เกริ่นนำ) | 1:55 | |
บทที่ 17 ความน่าจะเป็น (นิยาม/คุณสมบัติของความน่าจะเป็น) | 13:29 | |
บทที่ 17 ความน่าจะเป็น (ตัวอย่างโจทย์) | 19:07 | |
บทที่ 17 ความน่าจะเป็น (กฎเกี่ยวกับความน่าจะเป็นที่ควรรู้) | 13:32 | |
บทที่ 17 ความน่าจะเป็น (ตัวอย่างโจทย์) | 12:34 | |
บทที่ 17 ความน่าจะเป็น (ตัวอย่างโจทย์) | 13:12 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 17 ความน่าจะเป็น (ข้อ 1-7) | 14:04 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 17 ความน่าจะเป็น (ข้อ 8-13) | 7:32 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 17 ความน่าจะเป็น (ข้อ 14-18) | 9:12 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 17 ความน่าจะเป็น (ข้อ 19-24) | 13:51 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 17 ความน่าจะเป็น (ข้อ 25-28) | 11:36 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 17 ความน่าจะเป็น (ข้อ 29-35) | 8:35 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 17 ความน่าจะเป็น (ข้อ 36-39) | 6:39 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 17 ความน่าจะเป็น (ข้อ 40-46) | 8:54 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 17 ความน่าจะเป็น (ข้อ 47-50) | 13:19 | |
บทที่ 18 การแปรผัน |
เวลา(นาที) |
|
บทที่ 18 การแปรผัน (เกริ่นนำ) | 1:28 | |
บทที่ 18 การแปรผัน (นิยาม/การแปรผันตรง) | 12:15 | |
บทที่ 18 การแปรผัน (ตัวอย่างโจทย์) | 9:16 | |
บทที่ 18 การแปรผัน (การแปรผันแบบผกผัน) | 17:58 | |
บทที่ 18 การแปรผัน (การแปรผันเกี่ยวเนื้อง) | 12:58 | |
บทที่ 18 การแปรผัน (ตัวอย่างโจทย์) | 22:03 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 18 การแปรผัน (ข้อ 1-8) | 14:37 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 18 การแปรผัน (ข้อ 9-14) | 14:18 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 18 การแปรผัน (ข้อ 15-17) | 10:05 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 18 การแปรผัน (ข้อ 18-21) | 16:54 | |
แบบฝึกหัด บทที่ 18 การแปรผัน (ข้อ 22-24) | 8:28 | |
บทที่ 19 การประยุกต์ |
เวลา(นาที) |
|
บทที่ 19 การประยุกต์ (เกริ่นนำ) | 3:26 | |
บทที่ 19 การประยุกต์ (ลำดับฟีโบนักชี) | 14:20 | |
บทที่ 19 การประยุกต์ (รูปเรขาคณิตสามมิติ/การมองรูปเรขาคณิตสามมิติ) | 20:55 | |
บทที่ 19 การประยุกต์ (การนำลูกบาศก์มาประกอบเป็นรูปเรขาคณิตทรงสามมิติ) | 12:16 | |
บทที่ 19 การประยุกต์ (ข่ายงาน) | 15:45 | |
บทที่ 19 การประยุกต์ (การหาพจน์ทั่วไปของลำดับ) | 19:10 | |
บทที่ 19 การประยุกต์ (ตัวอย่างโจทย์) | 11:38 | |
บทที่ 19 การประยุกต์ (ตัวอย่างโจทย์) | 10:13 | |
บทที่ 19 การประยุกต์ (ตัวอย่างโจทย์) | 6:52 |

ขั้นตอน 1
กรุณาเข้าสู่ระบบ เพื่อความสะดวกแนะนำให้ Login ด้วย Facebook หรือหากยังไม่เป็นสมาชิกกรุณาสมัครสมาชิกก่อนสั่งซื้อคอร์สเรียน
ขั้นตอน 2
เลือกช่องทางในการชำระเงิน โดยคุณสามารถชำระค่าคอร์สออนไลน์ผ่านบัตรเครดิต/เดบิต, Internet Banking, หรือโอนเงินเข้าบัญชีธนาคาร(กรุณาอ่านรายละเอียดก่อนเลือกช่องทางการชำระเงิน)

ขั้นตอน 3
3.1 ชำระผ่านบัตรเครดิต/เดบิต
กรอกเลขบัตรเครดิต/เดบิต และข้อมูลต่างๆ แล้วคลิกปุ่ม "ชำระเงิน" เมื่อชำระเสร็จเรียบร้อยจะสามารถเข้าเรียนได้ทันที(กรุณาตรวจสอบยอดก่อนดำเนินการชำระเงิน)

3.2 ชำระผ่าน Internet Banking
เลือกธนาคารที่คุณเป็นสมาชิก Internet Banking แล้วคลิกปุ่ม "ชำระเงินผ่าน Internet Banking"ระบบจะนำคุณไปยังเว็บ Internet Banking ของธนาคาร เมื่อชำระเสร็จเรียบร้อยจะสามารถเข้าเรียนได้ทันที

3.3 ชำระผ่านการโอนเงินเข้าบัญชีธนาคาร
คุณสามารถโอนเงินเข้าบัญชีธนาคารบริษัทคอร์สสแควร์จำกัดด้วยเลขที่บัญชีที่ปรากฏบนหน้าจอ หรือโอนเงินผ่านระบบพร้อมเพย์ (PromptPay)เมื่อโอนเงินแล้ว คุณสามารถแจ้งการโอนเงินที่หน้า แจ้งโอนเงิน หรือแจ้งผ่าน Line: @coursesquare

รีวิวคอร์สจากผู้เรียน
-
นภั*********ธุ์
-
ปรภ********ิไล